รู้จัก “ฉลากเขียว” เครื่องหมายช่วยสะท้อนความยั่งยืนของแบรนด์ต่อสิ่งแวดล้อม
ฉลากเขียวของประเทศไทย ริเริ่มขึ้นโดยองค์กรธุรกิจเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Thailand Business Council for Sustainable Development, TBCSD)
1. ตั้งตามทุนของอาหารนั้น แล้วเอา 2.5 คูณเข้าไป
เช่น ต้นทุน 50 บาท เอา 2.5 คูณก็จะได้เท่ากับ 125 บาท การคิดแบบนี้ถือว่าได้รวม ค่าจัดการ ค่าใช้จ่ายต่างๆ เข้าไปแล้ว เป็นการคิดแบบทั่วไป
2. ต้องดูร้านคู่แข่งว่าตั้งราคาอาหารแบบเดียวกันนั้นอย่างไร
โดยคำนวณถึงสิ่งได้เปรียบและเสียเปรียบของคนที่เป็นลูกค้าให้รอบคอบ จึงกำหนดราคาลงไป เว้นแต่ว่าเรามีอะไรพิเศษกว่า ก็อาจตั้งราคาสูงกว่าได้บ้างเล็กน้อย
3. ให้พิจารณาจากขนาดของร้านและนโยบายของร้าน
4. ขึ้นอยู่กับความน่าเชื่อถือและคุณภาพของอาหารของลูกค้า
วิธีคิดกำไรร้านอาหารกิจการขายอาหารแต่ละประเภทต้องการกำไรไม่เท่ากัน ร้านเล็ดๆ ไม่ค่อยมีปัญหาในเรื่องการตั้งราคาอาหารเพราะ ทำเอง ขายเอง ที่ดินเอง ทำให้สามารถขายได้ในราคากำไรไม่สูงมานัก แต่พอร้านขยายขึ้นมา มีแม่ครัว เด็กล้างจาน พนักงานเสิร์ฟมากขึ้น ก็ต้องมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นทำให้ต้องกลับมานั่งคิดถึงจุดคุ้มทุน ส่วนใหญ่ร้านอาหารมักคิดราคาขายเป็น 2 เท่าจากต้นทุนรวมเท่าที่ต้องการ ดังนั้นการคิดกำไรให้ถึงจุดที่ว่า จึงมักเอาต้นทุนรวมตั้งและคูรด้วยจำนวนที่ต้องการโดยต้นทุนรวมก็คิดจากสินทรัพย์ทุกอย่าง