รู้จัก “ฉลากเขียว” เครื่องหมายช่วยสะท้อนความยั่งยืนของแบรนด์ต่อสิ่งแวดล้อม
ฉลากเขียวของประเทศไทย ริเริ่มขึ้นโดยองค์กรธุรกิจเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Thailand Business Council for Sustainable Development, TBCSD)
-เพื่อนบ้านที่ลดคุณค่าของบ้านตัวเอง บ้านที่เราซื้อช่างงดงามและถูกใจกับเรามากแต่มองยังบ้านใกล้เคียงช่างรกรุงรังบ้านสีลอก ขยะไม่ทิ้งส่งกลิ่นเหม็นไปทั่ว ต้นไม้ไม่ตัดหญ้าขึ้นสูงเกรงว่าจะมีงูโผล่มาหรือเปล่าก็รู้ เราต้องลองใช้เหตุผลว่าระวังสัตว์มีพิษโผล่มาจะอันตราย
– “ล้ำเส้น” ยิ่งถ้าคุณมีเด็กเล็กยิ่งต้องดูแลให้ดีเพราะเด็กยังไงก็คือเด็กเช่นเพื่อนบ้านปลูกดอกไม้สวยงามแล้วลูกหลานเราไปเด็ดหรือเล่นของแถวบ้านเขา เขาอาจไม่พอใจเกิดการไม่ประทับใจกันตั้งแต่แรกอยู่บ้านใกล้กันก็คงจะรู้สึกอึดอัดเพราะฉะนั้นต้องดูแลเด็กให้ดีๆ
-ฐานะดีกว่า ไม่ใช่กว่าการที่เขาฐานะดีกว่าแล้วเราจะมีอคติไปเสียหมดแต่ทว่าการที่เพื่อนบ้านฐานะดีกว่าเช่นเขาอาจจะมีรถหรูหลายคันมีคนรับใช้เยอะแยะจะเข้าบ้านทีก็ต้องบีบแตรเสียงดังเพื่อให้มีคนมาเปิดประตูโดยที่ไม่ได้คิดว่าข้างบ้านเขาจะตื่นขึ้นมาเพราะเสียงแตรรถและคนฐานะดีก็ยากเสียด้วยที่คนเหล่านี้จะยอมรับว่า เขาทำอะไรผิดไปบ้าง หรือเขาสร้างความยุ่งยากให้ครอบครัวคุณอย่างไรบ้าง บางทีเขาอาจแสดงออกด้วยซ้ำไปว่า คุณผิดเองที่มาเลือกบ้านอยู่ตรงนี้
-เพื่อนบ้านวุ่นวาย ชอบถือวิสาสะเข้าบ้านคุณบ่อยๆมาบ่อยไล่อย่างไรก็ไม่ชอบกลับหรือชอบมาขายของสารพัดทำให้คุณเกิดความรำคาญ
ขอบคุณรูปภาพจาก http://www.baancartoon.co.th/images/logo_baancartoon.png